วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2558

บทที่ 4

E-Commerce

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส (Electronic Business)

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส (Electronic Business) คือกระบวนการดําเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือขายที่เรียกวา องคการเครือขายรวม (Internetworked Network) ไมวาจะเปนการ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Commerce) การติดตอสื่อสารและ การทํางานรวมกัน หรือแมแตระบบธุรกิจภายในองคกร

การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Commerce)

-พาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือ การดําเนินธุรกิจ โดยใชสื่ออิเล็กทรอนิกส (ECRC Thailand,1999)
-พาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนสงผลิตภัณฑ และบริการโดยใชสื่ออิเล็กทรอนิกส (WTO,1998)

การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Commerce)
-พาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือ ขบวนการที่ใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อ ทําธุรกิจที่จะบรรลุเปาหมายขององคกร พาณิชยอิเล็กทรอนิกสใช เทคโนโลยีประเภทตาง ๆ และครอบคลุมรูปแบบทางการเงินทั้งหลาย เชน ธนาคารอิเล็กทรอนิกส, การคาอิเล็กทรอนิกส, อีดีไอหรือการ แลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกส, ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส, โทรสาร, คะ ตะลอกอิเล็กทรอนิกส, การประชุมทางไกล และรูปแบบตาง ๆ ที่เปน ขอมูลระหวางองคกร (ESCAP,1998)

การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Commerce)
-พาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือ ธุรกรรมทุกรูปแบบที่เกี่ยวของกับกิจกรรม เชิงพาณิชย ทั้งในระดับองคกร และสวนบุคคล บนพื้นฐานของการ ประมวล และการสงขอมูลดิจิทัล ที่มีทั้งขอความ เสียง และภาพ (OECD,1997)

การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Commerce)
-พาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือ การทําธุรกิจทางอิเล็กทรอนิกส ซึ่งขึ้นอยูกับ การประมวล และการสงขอมูลที่มีขอความ เสียง และภาพ ประเภทของ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส รวมถึงการขายสินคา และบริการดวยสื่อ อิเล็กทรอนิกส, การขนสงผลิตภัณฑที่เปนเนื้อหาขอมูลแบบดิจิทัลใน ระบบออนไลน, การโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส, การจําหนวยหุนทาง อิเล็กทรอนิกส, การประมูล, การออกแบบทางวิศวกรรมรวมกัน, การ จัดซื้อจัดจางของภาครัฐ, การขายตรง, การใหบริการหลังการขาย ทั้งนี้ ใชกับสินคา (เชน สินคาบริโภค, อุปกรณทางการแพทย) และบริการ (เชน บริการขายขอมูล, บริการดานการเงิน, บริการดาน กฎหมาย) รวมทั้งกิจการทั่วไป (เชน สาธารณสุข, การศึกษา, ศูนยการคาเสมือน (Virtual Mall) (European union,1997)

พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic commerce) คือ การทําธุรกรรมผาน สื่ออิเล็กทรอนิกส ในทุกชองทางที่เปนอิเล็กทรอนิกส เชน การซื้อขาย สินคาและบริการ การโฆษณาผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปน โทรศัพท โทรทัศน วิทยุ หรือแมแตอินเทอรเน็ต เปนตน โดยมี วัตถุประสงคเพื่อลดคาใชจาย และเพิ่มประสิทธิภาพขององคกร โดยการ ลดบทบาทองคประกอบทางธุรกิจลง เชน ทําเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินคา หองแสดงสินคา รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนํา สินคา พนักงานตอนรับลูกคา เปนตน จึงลดขอจํากัดของระยะทาง และ เวลาลงได


การประยุกตใช (E-commerce Application)

-การคาปลีกอิเล็กทรอนิกส (E-Retailing) 
-การโฆษณาอิเล็กทรอนิกส (E-Advertisement)
-การประมูลอิเล็กทรอนิกส (E-Auctions) 
-การบริการอิเล็กทรอนิกส(E-Service) 
-รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (E-Government) 
-การพาณิชยผานระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ 
(M-Commerce : Mobile Commerce)

โครงสรางพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure)

องคประกอบหลักสําคัญดานเทคโนโลยีพื้นฐาน ที่จะนํามาใชเพื่อการ พัฒนาระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส โดยแบงออกเปน 4 สวนไดแก
1. ระบบเครือขาย (Network)
2. ชองทางการติดตอสื่อสาร (Chanel Of Communication) 
3. การจัดรูปแบบและการเผยแพรเนื้อหา (Format & Content Publishing) 
4. การรักษาความปลอดภัย (Security)

การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)

สวนของการสนับสนุนจะทําหนาที่ชวยเหลือและสนับสนุนสวยของการ ประยุกตใชงานใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ เปรียบเสมือนเสาหลัก ของบาน ที่ทําหนาที่ค้ําจุนใหหลังคาบานอยางไรก็ตามเสาบานก็ตอง อาศัยพื้นบาน ในสวนของโครงสรางพื้นฐาน เพื่อที่จะยืนหยัดอยูได อยางมั่นคงตอไป สําหรับสวนสนับสนุนของ E-Commerce มี องคประกอบ 5 สวนดวยกันดังตอไปนี้ 

การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)
1. การพัฒนาระบบงาน E-Commerce Application Development 
2. การวางแผนกลยุทธ E-Commerce Strategy 
3. กฎหมายพาณิชยอิเล็กทรอนิกส E-Commerce Law 
4. การจดทะเบียนโดเมนเนม Domain Name Registration 
5. การโปรโมทเว็บไซต Website Promotion

The Dimensions of E-Commerce


Business Model of E-Commerce

Brick – and – Mortar Organization Old-economy organizations (corporations) that perform most of their business off-line ,selling physical product by means of physical agent. Virtual Organization Organization that conduct their business activities solely online. Click – and – Mortar Organization Organization that conduct some e-commerce activities , but do their primary business in the physical world.

ประเภทของ E-Commerce
กลุมธุรกิจที่คากําไร (Profits Organization) 
1. Business-to-Business (B2B) 
2. Business-to-Customer (B2C) 
3. Business-to-Business-to-Customer (B2B2C) 
4. Customer-to-Customer (C2C) 
5. Customer-to-Business (C2B) 
6. Mobile Commerce

ประเภทของ E-Commerce
กลุมธุรกิจที่ไมคากําไร (Non-Profit Organization)
1. Intrabusiness (Organization) E-Commerce 
2. Business-to-Employee (B2E) 
3. Government-to-Citizen (G2C) 
4. Collaborative Commerce (C-Commerce) 
5. Exchange-to-Exchange (E2E) 
6. E-Learning

E-Commerce Business Model
แบบจําลองทางธุรกิจหมายถึง วิธีการดําเนินการทางธุรกิจที่ชวยสรางรายได อันจะทําให บริษัทอยูตอไปได นอกจากนี้ยังรวมถึงกิจกรรมที่ชวยสราง มูลคาเพิ่ม (Value Add) ใหกับสินคาและบริการ วิธีการที่องคกรคิดคนขึ้นมาเพื่อประยุกตใชทรัพยากรของ องคกรอยางเต็มที่ อันจะกอใหเกิดผลกําไรสูงสุดและเพิ่มมูลคา ของสินคาและบริการ

E-Commerce Business Model
ธุรกิจที่หารายไดจากคาสมาชิก ตัวอยางของธุรกิจที่หารายไดจากคาสมาชิกในการศึกษาไดแก AOL (ธุรกิจ ISP), Wall Street Journal (หนังสือพิมพ), JobsDB.com (ขอมูลตลาดงาน), และ Business Online (ขอมูลบริษัท) ธุรกิจในกลุมนี้หลายรายเปนธุรกิจที่ไดกําไรแลวเนื่องจากรายไดจากคา สมาชิกเปนรายไดที่มีความมั่นคงกวารายไดจากแหลงอื่นเชน รายไดจากการโฆษณา หรือคานายหนา อยางไรก็ตาม ปจจัยในความสําเร็จของธุรกิจที่จะสามารถหารายไดจาก คาสมาชิกไดก็คือ การมีสารสนเทศหรือบริการที่มีคุณภาพที่ดี พอที่จะทําใหลูกคายอม จายคาสมาชิกดังกลาว เชน ตองมีสารสนเทศที่แตกตางจากผูประกอบการรายอื่น (Wall Street Journal หรือ Business Online) หรือใชกลยุทธทางการตลาดในการรักษาฐาน ลูกคาไว เชน AOL รักษาฐานลูกคาของตนดวยหมายเลขอีเมลหรือหมายเลข ICQ ซึ่ง ลูกคาที่ใชบริการไปแลวระยะหนึ่งไมตองการเปลี่ยนแปลง ธุรกิจที่มีรายไดจากสมาชิกยัง สามารถใชฐานลูกคาของตนที่มีอยูขยายตอ ไปยังธุรกิจตอเนื่องอื่นๆ เชน AOL ใชฐาน สมาชิกของตนในการหารายไดจากการโฆษณาออนไลน และธุรกิจคาปลีก

ธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน ธุรกิจโครงสรางพื้นฐานเปนธุรกิจ E-Commerce ที่ใหบริการแกธุรกิจ ECommerce อื่น ตัวอยางของธุรกิจพื้นฐานในการศึกษา ไดแก Consonus (ธุรกิจศูนยขอมูล และ ASP), Pay Pal (ธุรกิจชําระเงินออนไลน), Verisign (ธุรกิจออกใบรับรองดิจิตัล), BBBOnline (ธุรกิจรับรองการประกอบธุรกิจที่ ไดมาตรฐาน), Siamguru (บริการเสิรชเอนจิ้น), และ FedEx (บริการจัดสง พัสดุ) ปจจัยในความสําเร็จของธุรกิจในกลุมนี้จะขึ้นอยูกับการขยายตัวของ ตลาด E-Commerce โดยรวม กลาวคือ หากเศรษฐกิจ อยูในชวงขยายตัว และมีผูประกอบการ E-Commerce มาก รายไดของธุรกิจเหลานี้ก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น หากเรามองวาธุรกิจ E-Commerce มีแนวโนมที่จะขยายตัวอยาง ตอเนื่องในระยะยาว ธุรกิจโครงสรางพื้นฐานที่สามารถสรางความแตกตาง จากคูแขงได ก็จะมีแนวโนมที่จะเติบโต และนาจะทํากําไรไดในระยะยาว

ธุรกิจคาปลีกอิเล็กทรอนิกส ธุรกิจคาปลีกอิเล็กทรอนิกสเปนรูปแบบของธุรกิจ E-Commerce ซึ่งเปนที่รูจักกันดีที่สุด เมื่อกลาวถึงธุรกิจ E-Commerce คนทั่วไป จึงมักจะนึกถึงธุรกิจในกลุมนี้ ตัวอยางของ ธุรกิจคาปลีกอิเล็กทรอนิกส (Online Retailer) ในกรณีศึกษาไดแก Amazon (หนังสือ), 7dream (ของชํา), EthioGift (ของขวัญวันเทศกาลของเอธิโอเปย), 1-800-Flowers (ดอกไม), Webvan (ของชํา), Tony Stone Image (รูปภาพ), และ Thaigem (อัญมณี) รายไดหลักของธุรกิจคาปลีกอิเล็กทรอนิกสมาจากการจําหนายสินคา ในชวงแรกผู ประกอบธุรกิจคาปลีกอิเล็กทรอนิกส มักคาดหวังวา การประกอบการโดยไมตองมีรานคา ทางกายภาพจะชวยใหตนมีตนทุนที่ต่ํา และสามารถขายสินคาใหแก ลูกคาในราคาที่ต่ํา กวาคูแขงได อยางไรก็ตาม ในชวงเวลาตอมาเราจะพบวา ปจจัยในความสําเร็จของโมเดล ทางธุรกิจดังกลาวมักจะขึ้นอยูกับความสามารถในการจัดการสงสินคาและใหบริการหลัง การขายใหแกลูกคา เราจึงพบวาธุรกิจคาปลีกอิเล็กทรอนิกส ซึ่งไมมีรานคาทางกายภาพ มีแนวโนมที่จะตองสราง รานคาหรือคลังสินคาขึ้นดวยจนกลายเปนธุรกิจที่เรียกวา Clickand-Mortar หรืออาจใชวิธีการสรางพันธมิตรทางธุรกิจกับรานคาปลีกแบบเดิม

ธุรกิจคาปลีกอิเล็กทรอนิกส ตัวอยางของธุรกิจที่เรียกวา Click-and-Mortar ไดแกการที่ Amazon ไดลงทุนสรางคลังสินคาและพยายามทําความตกลงเปนพันธมิตร กับ Walmart ซึ่งเปนรานคาปลีกที่มีชองทางจัดจําหนาย ในขณะเดียวกัน เรายังเห็นแนวโนมของการที่รานคาปลีกแบบเดิมเชน 7-Eleven หันมา ประกอบธุรกิจออนไลนดวย ดังตัวอยางของ 7dream ซึ่งเปนการใช ประโยชนจากการมีรานคาทางกายภาพ และการทําธุรกิจออนไลน รวมกัน

ธุรกิจที่หารายไดจากโฆษณา ในชวงหลังธุรกิจ E-Commerce ที่หวังหารายไดจากการโฆษณาซบเซาลงไปมาก เนื่องจากการเขาสูตลาดดังกลาวทําไดงาย ทําใหจํานวนพื้นที่โฆษณาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ซึ่งมีผลทําใหเกิดการแขงขันอยางรุนแรง และมีผลกระทบตอรายไดของผูประกอบการ แทบทุกราย นอกจากนี้ การจัดทําเว็บไซตที่มีเนื้อหาดึงดูดใหผูใชเขามาใชตองอาศัยการ ลงทุนสูง และจําเปนตองทําการตลาดและการประชาสัมพันธผาน สื่อตางๆมาก ปจจัยใน ความสําเร็จของธุรกิจในกลุมนี้จึงไดแกการสรางจุดเดนที่แตกตางจากธุรกิจในแนว เดียวกัน ในขณะที่สามารถควบคุมตนทุนได ตัวอยางของธุรกิจที่หารายไดจากคาโฆษณา ที่ยังคงสามารถทํากําไรได คือ Yahoo! ซึ่งเปนเว็บทา (Portal Site) ที่มีชื่อเสียงมานาน และมี ตนทุนในการสรางเนื้อหานอย เนื่องจากใชวิธีการเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาของผูอื่น นอกจากนี้ยังมีอีกตัวอยางหนึ่งที่นาสนใจ คือ GreaterGood ซึ่งเปนตัวอยางของธุรกิจที่ หารายไดจากการแนะนําลูกคาใหแกเว็บไซตอื่นๆ ซึ่งคลายกับการหารายไดจากคา โฆษณา

บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส ตัวอยางของบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (E-Government) ในกรณีศึกษา ไดแก MERX (การใหขอมูลการประกวดราคาของโครงการรัฐ), Buyers.Gov (การจัดซื้อจัดจางของรัฐ) และ eCitizen (การใหบริการของรัฐแกประชาชน) บริการในกลุมนี้มักมีจุดประสงคเพื่อ อํานวยความสะดวกใหแกประชาชนและธุรกิจในการติดตอกับภาครัฐ (eCitizen) เพิ่ม ความโปรงใสในการดําเนินงาน (MERX) เพิ่มประสิทธิภาพ และลดคาใชจายในการ ดําเนินการของภาครัฐ (Buyers.Gov) เปนตน ปจจัยในความสําเร็จของบริการรัฐบาล อิเล็กทรอนิกสคือการศึกษาความตองการของประชาชนหรือผูใชบริการ แลวออกแบบ ระบบใหมีความสอดคลองกับความตองการนั้น นอกจากนี้ ปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่ง ตอความสําเร็จของบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสคือ การกําหนด มาตรฐานของขอมูลและ โปรแกรมประยุกตของบริการตางๆ ที่ตองทํางานรวมกันใหมีความสอดคลองกันเชน ใน กรณีของ eCitizen ซึ่งสามารถ ทําใหเกิดบริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (Single Stop Service) www.themegallery.com Com

ธุรกิจตลาดประมูลออนไลน ธุรกิจในกลุมนี้มีรูปแบบการหารายไดทั้งในแบบ B2C ซึ่งหารายไดจากการจําหนายสินคา สวนเกินของบริษัทโดยไมเกิดความขัดแยงกับชองทางเดิม นอกจากนี้ตลาดประมูล ออนไลนยังชวยใหธุรกิจสามารถหาราคาที่เหมาะสมของสินคา ตัวอยางของธุรกิจตลาด ประมูลออนไลน แบบ B2C ในกรณีศึกษาไดแก Egghead (สินคาอิเล็กทรอนิกส) และ Priceline (สินคาทองเที่ยว) เปนตน รูปแบบธุรกิจตลาดประมูลออนไลนอีกประเภทหนึ่ง คือแบบ C2C ธุรกิจในกลุมนี้จะหารายไดจากคานายหนาในการใหบริการตลาดประมูลซึ่ง ชวยจับคูผูซื้อและผูขายเขาดวยกัน ตัวอยางของธุรกิจตลาดประมูลดังกลาวนี้คือ Ebay ซึ่งเปนตลาดประมูลออนไลนที่มีชื่อเสียง และมีผลประกอบการที่ไดกําไรตั้งแตป 1996 ปจจัยในความสําเร็จของธุรกิจประมูลแบบ B2C คือความสามารถในการหาสินคาที่มี คุณภาพดีแตมีตนทุนต่ํามาประมูลขาย ซึ่งจําเปน ตองอาศัยการมีพันธมิตรรายใหญที่มี สินคาเหลือจํานวนมาก สวนปจจัยในความสําเร็จของธุรกิจประมูลแบบ C2C คือ ความสามารถในการสรางความภักดีของลูกคาและปองกันการฉอโกงระหวางผูซื้อและ ผูขาย

ธุรกิจตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส ตัวอยางของธุรกิจตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส (E-Marketplace) ในกรณีศึกษาไดแก PaperExchange (กระดาษ), FoodMarketExchange (อาหาร), DoubleClick (แบนเนอร ในอินเทอรเน็ต), Half.com (สินคาใชแลว), และ Translogistica (ขนสงทางบก) ธุรกิจใน กลุมนี้จะหารายไดจากคานายหนาในการใหบริการตลาดกลางซึ่งชวยจับคูผูซื้อและผูขาย เขาดวยกัน ในชวงแรกธุรกิจตลาดกลางมักดําเนินการโดยผูบริหารตลาดที่เปนอิสระจาก ผูซื้อหรือผูขาย (Independent Market Maker) อยางไรก็ตามตอมาพบวา ผูบริหารตลาด อิสระมักไมสามารถชักชวนผูซื้อหรือผูขายใหเขารวมในตลาดจนมีจํานวนที่มากพอได ในชวงหลังเราจึงเริ่มเห็นผูประกอบการรายใหญ หรือกลุมของผูประกอบการรายใหญที่ รวมตัวกันในลักษณะของ consortium เปนแกนกลางในการบริหารตลาดกลางเอง โดย ชักชวนใหซัพพลายเออรและลูกคาของตนเขารวมในตลาด ปจจัยในความสําเร็จของ ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกสคือ ความสามารถในการดึงดูดผูซื้อและผูขายจํานวนมากใหมา เขารวมในตลาดทําใหตลาดมีสภาพคลอง (liquidity) มากพอ ซึ่งจําเปนตองอาศัยการมี ความสัมพันธกับกลุมผูซื้อ หรือผูขายแลวแตกรณี

ธุรกิจที่ใช E-Commerce ในการเพิ่ม Productivity รูปแบบในการใช E-Commerce ในการเพิ่ม productivity ที่มีประสิทธิผลมากที่สุดมัก ไดแก การบริหารซัพพลายเชน (Supply Chain Management) และการใหบริหารลูกคา สัมพันธ (Customer Relationship Management) ตัวอยางของการบริหารซัพพลายเชน ในกรณีศึกษาไดแก Dell (คอมพิวเตอรสวนบุคคล), Boeing (เครื่องบิน), TESCO (ของ ชํา), W.W.Grainger (สินคา MRO), และ GMBuyPower (ยานยนต) ระบบบริหารซัพ พลายเชนดังกลาวมักจะชวยลดตนทุนในการติดตอกับซัพพลายเออรลดตนทุนการ บริหารคลังสินคา (Inventory) เนื่องจากการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางผูผลิตและซัพ พลายเออรจะชวยใหสามารถคาดการยอดขายไดดีขึ้น ตลอดจนลดเวลาในการสงมอบ สินคาใหลูกคา

ธุรกิจที่ใช E-Commerce ในการเพิ่ม Productivity (ตอ) สวนตัว อยางของการบริหารลูกคาสัมพันธที่นําเสนอในการศึกษาไดแก CISCO(อุปกรณ โทรคมนาคม) Southern Airlines (สายการบิน) Wells Fargo (ธนาคาร), GE Appliance (ศูนยบริการลูกคา), DaimlerChrysler (ยานยนต), The Value System (เทคโนโลยี สารสนเทศ) และ Cement Thai Online (อุปกรณกอสราง) ระบบบริการลูกคาสัมพันธที่ดี จะชวยใหธุรกิจเหลานี้สามารถใหบริการลูกคาโดยมีตนทุนที่ลดลงจากการลดพนักงาน หรือสํานักงานทางกายภาพ ในขณะที่สามารถเพิ่มหรือรักษาระดับความพึงพอใจของ ลูกคาไดการเพิ่มผลิตภาพของธุรกิจจากการนําเอาระบบ E-Commerce มาใชในทั้งสอง ลักษณะดังกลาวจะชวยใหธุรกิจมีความสามารถในการแขงขันเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม การ เพิ่มผลิตภาพของธุรกิจจาก E-Commerce จะไมสามารถเกิดขึ้นไดหากธุรกิจไมมีระบบ ภายใน (Back Office) ที่พรอม ซึ่งถือเปนปจจัยในความสําเร็จที่สําคัญที่สุดประการหนึ่ง

ขอดีและขอเสียของ E-Commerce

ขอดี
1.สามารถเปดดําเนินการไดตลอด 24 ชั่วโมง
2.สามารถดําเนินการคาขายไดอยางอิสระทั่วโลก
3.ใชตนทุนในการลงทุนต่ํา
4.ไมตองเสียคาเดินทางในระหวางการดําเนินการ
5.งายตอการประชาสัมพันธ และยังสามารถประชาสัมพันธในครั้งเดียว แตไปไดทั่วโลก
6.สามารถเขาถึงลูกคาที่ใชบริการอินเทอรเนตไดงาย
7.ประหยัดคาใชจายและเวลาสําหรับผูซื้อและผูขาย
8.ไมจําเปนตองเปดเปนรานขายสินคาจริงๆ

ขอเสีย
1.ตองมีระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบที่มีประสิทธิภาพ
2.ไมสามารถเขาถึงลูกคาที่ไมไดใชบริการอินเทอรเนตได
3.ขาดความเชื่อมั่นในเรื่องการชําระเงินผานทางบัตรเครดิต
4.ขาดกฎหมายรองรับในเรื่องการดําเนินการธุรกิจขายสินคาแบบ ออนไลน
5.การดําเนินการทางดานภาษียังไมชัดเจน ขอดีและขอเสียของ E-Commerce สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิทยาการจั

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น